วันอังคารที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554

รักมึง

กว่าจะรักเท่าวันนี้ 
กว่าจะมีคนมาเข้าใจต้องใช้เวลา 
ใช่เพียงมองตากันเมื่อไร 
อยากจะคิดต้องจากกัน เป็นแค่ฝัน
แต่ความจริงนั้นเรายังอยู่เคียงข้างกัน
 ดั่งวันวาน ^^





เวลาจะจากกัน ฟังเพลงนี้เเล้วกูซึ้งทุกที มีกระดาษอยู่แผ่นนึงที่กูเขียนเพลงนี้ลงไป น้ำตาจะไหล TT

รักมึงวะมุ่ย <3

1 ปี เหมือนจะนาน แต่ความจริงแปปเดียว
เราเป็นเพื่อนกันมาปีกว่าแล้วหรอวะ เร็วมาก !!
แปป ๆ ก็จะขึ้น ม.6 เดี๋ยวก็ไป มหาลัย เร็วสัสอ่ะ

กระกาษนั่นกูเขียนไม่พอเลยต้องมาเขียนในนี้เพิ่ม 5555 

ขอโทษนะเว้ย ที่ทำอะไรให้ไม่พอใจ ที่บางทีกูพูดอะไรไม่ดีออกไป ขอโทษจริงๆ
มึงเป็นเพื่อนที่กูรักมากคนนึง กูอยากจะบอกว่ากูเคยคิดว่ามึงโกรธกู
เพราะมึงไม่คุยกะกู แต่ความจริงมึงไม่ได้โกรธ 555
กูก็เงี๊ย คิดมากไปเอง ^^ 


มึงมา HBD. กู คนที่ 5 ^^ FC กูคนที่ 6  555555 ขอบใจมาก ๆๆๆๆๆ


ตั้งใจเรียนนะเว้ย อยู่นู่น เป็นเด็กดีด้วย ๆ รักที่สุด :))

จุ๊บ ><


เ้อ้อ อย่าลืม !! นักบอลแคนนาดา หล่อๆ ซักคน 555 Thank you !! 


ปล. อาจจะไม่ซึ้งเท่าไร แต่เขียนจากใจ  Mint <3 Muii ^^


วันพฤหัสบดีที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2553

โพลเจกไทล์

การเคลื่อนที่วิถีโค้ง
(Projectile Motion)




         การเคลื่อนที่แบบโพลเจกไทล์นั้น มีมานานแล้ว ตั้งแต่โบราณ สังเกตจากหลักการยิงธนูในสมัยโบราณซึ่งจะเป็นลักษณะวิถีโค้ง

         ขณะที่วัตถุเคลื่อนที่ไปนั้นแรงดึงดูดของโลก (g) จะฉุดวัตถุในแนวดิ่งตลอดเวลา ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ในลักษณะโค้งได้ กราฟการเคลื่อนที่จะเป็นลักษณะพาราโบรา

หลักการ


1. การเคลื่อนที่แบบโพลเจคไทล์ จะเกิดขึ้น แกนในเวลาเดียวกัน ก็คือ แกนและแกน ดังนั้น เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ จึงเท่ากัน  tx = ty


       ***ดังนั้น ตัวเชื่อมในการคำนวนของ แกน คือ เวลา (t)

2. ในแนวแกน X (แนวราบ) จะเป็นลักษณะ ความเร็วคงที่ หรือไม่มีความเร่งV = 0 ค่า u (ความเร็วต้น) ไม่ได้อยู่ตรงแนวแกน จึงต้องใช้หลักการแตกเวกเตอร์เข้าช่วย โดยทำมุมเซตากับแนวราบ
          ค่า ในแนวแกน จะเท่ากับ u cos เซตา 
          ค่า ในแนวแกน จะเท่ากับ u sin เซตา

**แตกเสร็จ u เดิมจะหายไป

          สูตรในการคำนวนคือ s=ut





3. ในแนวแกน Y (แนวดิ่ง) เนื่องจาก ความเร็วไม่คงที่ ความเร็วในแนวดิ่งจะ =เมื่อขึ้นได้สูงสุด แล้วจะมีความเร็วเพิ่มขึ้นเมื่อจะตกถึงพื้น ซึ่งอัตราเร็วขาขึ้น=อัตราเร็วขอลง จึงใช้สูตรสมการการเคลื่อนที่แนวตรงในการคำนวน คือ



*** ในการคำนวนโพลเจคไทล์ เครื่องหมายที่ใช้ในการคำนวนนับว่าสำคัญมาก เพราะถ้าคำนวนถูกแต่เครื่องหมายผิด ก้ถือว่าผิด

มีหลักการในการจำเครื่องหมายง่ายๆ ดังนี้
       ค่า ไม่ว่าจะไปทิศทางใด จะเป็น + เสมอ
       ค่า เมื่อมีทิศทางตรงข้ามกับ จะเป็นลบ


สูตรลัดโพลเจคไทล์

ใช้ได้กับกรณีเดียวเท่านั้นคือ จุดเริ่มตันกับจุดสุดท้าย อยู่ระกับเดียวกั





สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับโพลเจกไทล์

1. วัตถุจะตกไกลที่สุดเมื่อยิงในมุม 45 องศา
2. เมื่อยิงวัตถุ ชิ้น ถ้ามุมของทั้งสอง บวกกันได้ 90 องศา วัตถุจะมาตกในตำแหน่งเดียวกัน
3. ในการหา v ลัพธ์ หรือ S ลัพธ์ ทำได้โดยการใช้หลักทฤษฏีปีทาโกรัส